Page 21 - คู่มือหลักสูตรอบรมวิทยากร การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง สำหรับบุคลากรสถานศึกษา และ บุคลากรสาธารณสุข
P. 21
ใบคว�มรู้ที่ 1
ก�รบูรณ�ก�รง�นดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ระหว่�งสถ�นศึกษ�และสถ�นบริก�รส�ธ�รณสุข
รูปแบบก�รพัฒน�เครือข่�ยก�รดำ�เนินง�น
1. ผลักดัน : แนวทางที่จะนำาไปสู่การเอาชนะภัยคุกคามเด็กและเยาวชนได้ ต้องมี ผู้นำา ที่มีวิสัยทัศน์
และมีความสามารถในการผลักดันให้เกิดนโยบายตั้งแต่ระดับชาติจนถึงระดับเขตพื้นที่
2. บูรณาการ : กระบวนการการทำางานทั้งในระบบสาธารณสุขและระบบการศึกษาเพื่อไม่ให้บุคลากรรู้สึกว่า
ภารกิจล้นมือ
3. พัฒนา : คนให้มีความรู้และทักษะ และมีแรงบันดาลใจที่จะทำางาน
4. สนับสนุน : ปัจจัยเอื้อต่อการดำาเนินงาน
5. ติดตาม/ประเมินผล : อย่างต่อเนื่อง มีระบบข้อมูล และระบบรายงานที่เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน
ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี/แนวทางการดำาเนินงาน ตัวชี้วัด
ผู้นำา (Leader) 1. รอบรู้เรื่องเครือข่าย - มีข้อมูลของหน่วยงานและองค์กร
- เป็นผู้นำาด้านความคิด - วิเคราะห์ความพร้อมของเครือข่าย ที่ทำางานด้านสุขภาพจิตเด็กและ
ในการพัฒนาเครือข่าย - วางแผนสร้างเครือข่ายอย่างถาวรโดยคิดเป็น เยาวชนในเขตพื้นที่
ระบบ แสดงขั้นตอนและรูปแบบของปฏิสัมพันธ์ - มีแผนการสร้างเครือข่ายที่ชัดเจน
2. ฉับไวในการประเมินสถานการณ์
- ประเมินสถานการณ์ ปัญหาและความต้องการ โดยคิดเป็นระบบ แสดงขั้นตอนและ
ของเด็กและเยาวชนรวมถึงผลกระทบอย่าง รูปแบบของปฏิสัมพันธ์
รอบด้าน และเป็นปัจจุบัน - มีข้อมูลการวิเคราะห์และ
3. สร้างอุดมการณ์ร่วม สรุปสถานการณ์ปัญหาและ
- สร้างความเข้าใจแก่ผู้เกี่ยวข้องให้ตระหนักถึง ความต้องการ ของเด็กและเยาวชน
ความสำาคัญ และเห็นประโยชน์ร่วมกันในการ รวมถึงผลกระทบอย่างรอบด้าน
พัฒนาเครือข่ายการดูแลช่วยเหลือเด็กและ และเป็นปัจจุบัน
เยาวชนในสถานศึกษา - มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
4. ผลักดันการดูแลในเชิงนโยบาย
- กำาหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจการพัฒนาเครือข่าย ระหว่างหน่วยงานที่เป็นเครือข่าย
อย่างชัดเจน
- บรรจุแผนการพัฒนาเครือข่ายใน
แผนการดำาเนินงานของจังหวัด
คู่มือหลักสูตรอบรมวิทยากร การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
16
สำาหรับบุคลากรสถานศึกษา และบุคลากรสาธารณสุข